บทที่ 5 วิธีการสอน
1.วิธีการสอนแบบบรรยาย
คือ
กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
โดยการเตรียมเนื้อหาสาระ โดย พูด บอก เล่า
อธิบายเนื้อหาสาระหรือสิ่งที่ต้องการสอนแก่ผู้เรียน
วัตถุประสงค์
วิธีสอนโดยใช้การบรรยายเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนจำนวนมากได้เรียนรู้
เนื้อหาสาระ
ลักษณะของการสอนแบบบรรยาย
1. ผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียน
ในรูปแบบของการบอกเล่า บอกกล่าว
อธิบายความหรือพรรณนาความ
2. ผู้เรียนเป็นฝ่ายฟังการสอน
โดยอาจจะจดบันทึกสาระสำคัญตามที่ผู้สอนถ่ายทอดมุ่งให้เร้าใจไปสู่ในเนื้อหาสาระโดยตรง3. มุ่งถ่ายทอดความรู้โดยตรงแก่ผู้ฟัง
ขั้นตอนการสอนแบบบรรยาย
1.ผู้สอนเตรียมเนื้อหาสาระที่จะบรรยาย
2. ขั้นสอน
3. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม
และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เทคนิคการสอนแบบบรรยาย
1.การเตรียมการสอน
2.การเตรียมตัวสอน
3.การเตรียมสื่อการสอน
ข้อดีของการสอนแบบบรรยาย
1.สอนได้เร็ว
เพราะผู้สอนเป็นผู้พูดส่วนใหญ่
2.ใช้สอนผู้เรียนได้จำนวนมาก
3.สะดวกในการนำมาใช้สอน
2.วิธีการสอนแบบสาธิต (
Demonstration Method )
เป็นวิธีสอนที่ครูมีหน้าที่ในการวางแผนการเรียนการสอนเป็นส่วนใหญ่
โดยมีการแสดงหรือการกระทำให้ดูเป็นตัวอย่าง นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการสังเกต
การฟัง การกระทำ หรือการแสดง
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้เห็นการปฏิบัติจริงด้วยตนเอง
ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.
เพื่อกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนให้มีความสนใจในบทเรียนยิ่งขึ้น
2. เพื่อช่วยในการอธิบายเนื้อหาที่ยาก
ซึ่งต้องใช้เวลามาก ให้เข้าใจง่ายขึ้น และประหยัดเวลา
ขั้นตอนในการสอนของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.กำหนดจุดมุ่งหมายของการสาธิตให้ชัดเจน
2.เตรียมอุปกรณ์ในการสาธิตให้พร้อม
และตรวจสอบความสมบูรณ์ของอุปกรณ์
3.เตรียมกระบวนการสาธิต ทดลองสาธิตก่อนสอน
5. ต้องจัดทำคู่มือคำแนะนำหรือข้อสังเกตในการสาธิต
6. เมื่อสาธิตเสร็จสิ้นแล้ว
นักเรียนควรได้ทำการสาธิตซ้ำอีก เพื่อเน้นให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น
7. จัดเตรียมกิจกรรมหลังจากการสาธิตเพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าหรือประโยชน์ของการสาธิตนั้น
ๆ
8. ประเมินผลการสาธิต
ข้อดีของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.ทำให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง
2.ทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายและจดจำเรื่องที่สาธิตได้นาน
3.ทำให้ผู้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
3.วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion
Method)
คือ
เป็นการสอนโดยที่นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันการอภิปรายกระทำระหว่างครูกับนักเรียน
หรือระหว่างนักเรียนด้วยกัน โดยมีครูเป็นผู้ประสานงาน
ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบอภิปราย
1.
เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันแบบประชาธิปไตย
2.
เพื่อฝึกทักษะในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ขั้นตอนการสอน
1.ขั้นเตรียมการอภิปราย
2.ขั้นดำเนินการอภิปราย
3.ขั้นสรุป
ประกอบด้วย
ข้อดีของวิธีสอนแบบอภิปราย
1. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2. พัฒนาสติปัญญาของนักเรียนด้านการคิดหาเหตุผล
3. ส่งเสริมการค้นคว้าหาความรู้ของนักเรียนเพื่อนำมาใช้ในการอภิปราย
4.วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม (Committee
Work Method)
คือ
เป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วมมือกันศึกษาค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถ
ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบร่วมกันในการทำงานนั่นคือส่งเสริมการทำ
งานเป็นทีม
2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมในการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีระเบียบวินัย
รู้จักทำหน้าที่
ขั้นตอนในการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1.
ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดความมุ่งหมายของการทำงานในแต่ละกลุ่ม
2.
ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้
3.
นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4.
ครูและนักเรียนประเมินผลการทำงาน
ข้อดีของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1.
นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเต็มที่
2.
นักเรียนได้ทำงานตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจของตนเอง
5.วิธีสอนแบบนิรนัย (Deducation)
เป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อย
ๆ ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนำหลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
วัตถุประสงค์ของการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัย
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนรู้หลักการและสามารถนำหลักการดังกล่าวไปใช้ได้
องค์ประกอบสำคัญ (ที่ขาดไม่ได้)
ของวิธีสอน
1. มีทฤษฎี / หลักการ / กฏ
หรือข้อสรุปต่าง ๆ
2. มีตัวอย่างสถานการณ์ที่หลากหลาย
ที่สามารถนำทฤษฎี / หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปนั้นไปใช้ได้
3. มีการฝึกนำทฤษฎี /
หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปไปใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
4. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นจากการนำหลักการไปใช้
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
1. ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ /
ทฤษฎี / หลักการ / กฎ / ข้อสรุปที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยวิธีการต่าง
ๆ ตามความเหมาะสม
2. ผู้สอนให้ตัวอย่างสถานการณ์ใหม่ที่หลากหลายที่สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัตินำความรู้
ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
4. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิเคราะห์และอภิปรายการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
5. ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เทคนิคและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ในการใช้วิธีสอนโดยการนิรนัยให้มีประสิทธิภาพ
1. ผู้สอนจำเป็นต้องทำความเข้าใจทฤษฎี
/ หลักการ / กฏ / ข้อความรู้ / ข้อสรุป ที่ต้องการสอนให้แก่ผู้เรียน
และหาวิธีที่เหมาะสมในการถ่ายทอด
2. การนำเสนอข้อความรู้ /
ทฤษฎี / หลักการ / กฏ / ข้อสรุปแก่ผู้เรียน
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้อย่างรวดเร็วและไม่ยุ่งยาก
2)
เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนำทฤษฎี /
หลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ
ข้อจำกัด
1)
เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจำเป็นต้องเตรียมตัวอย่าง / สถานการณ์ /
ปัญหาที่หลากหลายมาให้ผู้เรียนได้ฝึกทำ
2)เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและความสามารถของผู้สอนในการนำเสนอทฤษฎี
หลักการ
6.วิธีการสอนแบบอุปนัย (Induction)
เป็นวิธีสอนที่ให้ผู้เรียนสรุปหลักการหรือแนวคิดจากตัวอย่างต่าง ๆ
ด้วยตนเอง....ช่วยให้ผู้เรียนได้คิดได้ทำความเข้าใจด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์การสอนแบบอุปนัย
วัตถุประสงค์การสอนแบบอุปนัย
ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์สามารถจับหลักการ
หรือประเด็นสำคัญได้ด้วยตนเอง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1.
มีตัวอย่าง / ข้อมูล / สถานการณ์
/ เหตุการณ์ / ปรากฏการณ์ / ความคิดที่เป็นลักษณะย่อย ๆ
ของสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
2.
มีการวิเคราะห์ตัวอย่างต่าง ๆ เพื่อหาหลักการที่ร่วมกัน
3.
มีการสรุปหลักการและข้อสรุปที่มีลักษณะเป็นหลักการ / แนวคิด
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
1.
ผู้สอน และ / หรือผู้เรียน ยกตัวอย่าง / ข้อมูล / สถานการณ์ /
เหตุการณ์ / ปรากฏการณ์ / ความคิด ที่มีลักษณะสำคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้
2.
ผู้เรียนศึกษาและวิเคราะห์หาหลักการที่แฝงอยู่ในตัวอย่างนั้น
3.
ผู้เรียนสรุปหลักการ / แนวคิด ที่ได้จากตัวอย่างนั้น
เทคนิคและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ในการใช้วิธีสอนโดยการนิรนัยให้มีประสิทธิภาพ
1.การเตรียมตัวอย่าง
2.การให้ผู้เรียนศึกษาวิเคราะห์หาหลักการ
/ แนวคิด จากตัวอย่าง
3.การให้ผู้เรียนสรุปและนำข้อสรุปไปใช้
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนสามารถค้นพบการเรียนรู้ได้ด้วนตนเอง
จึงทำให้เกิดความเข้าใจและจดจำได้ดี
2)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อันเป็นเครื่องมือสำคัญของการเรียนรู้
ข้อเสีย
1.เป็นวิธีสอนที่ใช้เวลาค่อนข้างมาก
2.เป็นวิธีสอนที่อาศัยตัวอย่างที่ดีหากผู้สอนขาดความเข้าใจในการจัดเตรียมตัวอย่างที่ครอบคลุมลักษณะสำคัญ
ๆ ของหลักการ / แนวคิดที่สอน การสอนจะไม่ประสบผลสำเร็จ
7.วิธีสอนโดยใช้การทดลอง (Experiment)
คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
โดยการให้ผู้เรียนเป็นผู้กำหนดปัญหาและสมมติฐานในการทดลองและลงมือทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนรายบุคคลหรือรายกลุ่มเกิดการเรียนรู้โดยการเห็นผลประจักษ์ชัดจากการคิดและการกระทำของตนเอง
องค์ประกอบของวิธีสอน
1.มีปัญหาและสมมติฐานในการทดลอง
2.มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับทดลอง
3.มีการทดลอง
ข้อดี
1.
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของการปฏิบัติการหรือทดลอง
2.
เป็นการเรียนรู้จากการกระทำ หรือเป็นการเรียนรู้จากสภาพจริง
3.
เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล
8.วิธีสอนโดยใช้บทบาทสมมติ (Role Playing )
คือ
วิธีสอนที่ผู้สอนสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมุติขึ้นจากความเป็นจริง
มาให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามที่ผู้เรียนคิดว่าจะเป็น
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
เกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและผู้อื่น
หรือเกิดความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับบทบาทสมมติที่ตนแสดง
ความมุ่งหมายของวิธีสอนโดยใช้บทบาทสมมติ
1.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในพฤติกรรมและความรู้สึกของผู้อื่น
2.เพื่อให้ผู้เรียนได้ปรับหรือเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม
3.เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ความรู้ความคิดในการแก้ปัญหา
และการตัดสินใจ
ลักษณะของบทบาทสมมุติ
1.
การแสดงบทบาทสมมุติแบบละคร
2. การแสดงบทบาทสมมุติแบบแก้ปัญหา
ขั้นตอนวิธีการสอนโดยใช้บทบาทสมมุติ
1. ขั้นเตรียมการสอน
2. ขั้นดำเนินการสอน
3. ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผลการแสดง
4. ขั้นแสดงเพิ่มเติม
5. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
ข้อดี
1. ช่วยให้เกิดความเข้าใจว่าคนอื่นอาจคิด รู้สึก และปฏิบัติอย่างไร เห็นอกเห็นใจคนอื่น
2. ใช้ช่วยในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
3. ผู้เรียนได้รับการเตรียมสำหรับสถานการณ์จริงที่จะเผชิญ
9.วิธีสอนแบบศูนย์การเรียน (Learning
Center)
คือ
การสอนที่เน้นความสำคัญของนักเรียนหรือยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลางและใช้เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่ใช้สื่อประสมและกระบวนการกลุ่มเป็นสิ่งสำคัญ
เพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนมีชีวิตชีวา
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตนเอง
ความมุ่งหมายวิธีสอนแบบศูนย์การเรียน
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
2.เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
รู้จักเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
องค์ประกอบของศูนย์การเรียน
1.บทบาทของผู้สอน
2.บทบาทของผู้เรียน
3.จุดการสอน
4. การจัดห้องเรียน
ขั้นตอนการสร้างชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
1. เลือกเรื่องที่จะสอน
แล้วแบ่งเป็นหัวเรื่องย่อยประมาณ 4-6 หัวเรื่อง
2. กำหนดมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดของแต่ละหัวข้อเรื่อง
3. กำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
4. กำหนดกิจกรรมการเรียนโดยให้สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องของชุดการสอน
5. กำหนดสื่อการสอน
สื่อการสอนที่จะใช้ควรเป็นสื่อที่มีราคาถูกและสามารถผลิตเองได้
ขั้นตอนการสอนวิธีสอนแบบศูนย์การเรียน
1. ขั้นทดสอบก่อนเรียน
2. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
3. ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน
4. ขั้นสรุปบทเรียน
5.
ขั้นประเมินผลการเรียน
ข้อดี
1.
ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมและการเป็นประชาธิปไตย
2.
สร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพโดยการให้โอกาสนักเรียนได้เรียนตามความสนใจ
3.
ได้ทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียนจากการบันทึกพัฒนาการในการเรียน
10.วิธีสอนการสอนแบบทัศนศึกษา (Field
Trip)
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่องที่เรียน
ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริงได้ใช้แหล่งชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
วัตถุประสงค์การสอนแบบทัศนศึกษา
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานที่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. มีการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานที่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ
2.
มีการเดินทางออกไปยังสถานที่เป้าหมายซึ่งอยู่นอกโรงเรียน หรือนอกสถานที่ที่เรียนกันอยู่เป็นปกติ
3.
มีกระบวนการในการศึกษาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ในสถานที่นั้น
4.
มีการสรุปผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้จากการไปทัศนศึกษา
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริง
มีการเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียนและความเป็นจริง
2)
เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นและชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
และช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ข้อเสีย
1) เป็นวิธีสอนที่ยุ่งยากสำหรับผู้สอน
เนื่องจากต้องมีการเตรียมการติดต่อประสานงาน จัดการ และรับผิดชอบงานหลายด้าน
2) เป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลามาก
และมีความเสี่ยง อาจเกิดอันตรายระหว่างการเดินทางได้
11.วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
เป็นการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างนี้
มิได้มุ่งที่คำตอบใดคำตอบหนึ่ง
...แต่ต้องการให้ผู้เรียนเห็นคำตอบและเหตุผลที่หลากหลาย
อันจะช่วยให้การตัดสินใจมีความรอบคอบขึ้น
วัตถุประสงค์
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริง
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีกรณีเรื่องที่คล้ายกับเหตุการณ์จริง
1. มีกรณีเรื่องที่คล้ายกับเหตุการณ์จริง
2.มีประเด็นคำถามให้คิดพิจารณาหาคำตอบ
3. มีคำตอบที่หลากหลาย
คำตอบไม่มีถูกผิดอย่างชัดเจนหรือแน่นอน
4. มีการอภิปรายเกี่ยวกับสภาพการณ์ ปัญหา
มุมมอง และวิธีแก้ปัญหาของผู้เรียน
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา
ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองที่กว้างขึ้น
2)เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริงและได้ฝึกแก้ปัญหาโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลที่จะเกิดขึ้นช่วยให้เกิดความพร้อมแก้ปัญหาเมื่อเผชิญปัญหาในสถานการณ์จริง
ข้อเสีย
1)
หากกลุ่มผู้เรียนมีความรูและประสบการณ์ไม่แตกต่างกัน การเรียนรู้อาจไม่กว้างเท่าที่ควร
เพราะผู้เรียนมักมีมุมมองคล้ายกัน
2)
แม้ปัญหาและสถานการณ์จะใกล้เคียงกับความเป็นจริง แต่ก็ไม่ได้เกิดขึ้นจริง ๆ
กับผู้เรียน
ความคิดในการแก้ปัญหาจึงมักเป็นไปตามเหตุผลที่ถูกที่ควรซึ่งอาจไม่ตรงกับการปฏิบัติจริงได้
12.วิธีสอนบทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction)
เป็นบทเรียนที่ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสามารถ....และสามารถตรวจสอบผลการเรียนรู้ได้ทันทีด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนรายบุคคลได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ
ความต้องการและความสนใจของตน
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีบทเรียนแบบโปรแกรมในเรื่องที่ตรงกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
2. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากบทเรียนแบบโปรแกรม
ข้อดี
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง
2)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลสามารถเรียนรู้ได้ตามความสามารถของตน
เป็นการตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ข้อเสีย
1) เป็นวิธีสอนที่พึ่งบทเรียนแบบโปรแกรม
หากไม่มีบทเรียนหรือบทเรียนไม่มีคุณภาพดีพอ ก็ย่อมส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
2) การสร้างบทเรียนให้มีคุณภาพที่ดี
เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและมีความยุ่งยากในการจัดทำ ผู้สร้างจำเป็นต้องมีความรู้
ความเข้าใจในการสร้างบทเรียน
บทที่ 5 วิธีการสอน
1.วิธีการสอนแบบบรรยาย
คือ
กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
โดยการเตรียมเนื้อหาสาระ โดย พูด บอก เล่า
อธิบายเนื้อหาสาระหรือสิ่งที่ต้องการสอนแก่ผู้เรียน
วัตถุประสงค์
วิธีสอนโดยใช้การบรรยายเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนจำนวนมากได้เรียนรู้
เนื้อหาสาระ
ลักษณะของการสอนแบบบรรยาย
1. ผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียน
ในรูปแบบของการบอกเล่า บอกกล่าว
อธิบายความหรือพรรณนาความ
2. ผู้เรียนเป็นฝ่ายฟังการสอน
โดยอาจจะจดบันทึกสาระสำคัญตามที่ผู้สอนถ่ายทอดมุ่งให้เร้าใจไปสู่ในเนื้อหาสาระโดยตรง3. มุ่งถ่ายทอดความรู้โดยตรงแก่ผู้ฟัง
ขั้นตอนการสอนแบบบรรยาย
1.ผู้สอนเตรียมเนื้อหาสาระที่จะบรรยาย
2. ขั้นสอน
3. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม
และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เทคนิคการสอนแบบบรรยาย
1.การเตรียมการสอน
2.การเตรียมตัวสอน
3.การเตรียมสื่อการสอน
ข้อดีของการสอนแบบบรรยาย
1.สอนได้เร็ว
เพราะผู้สอนเป็นผู้พูดส่วนใหญ่
2.ใช้สอนผู้เรียนได้จำนวนมาก
3.สะดวกในการนำมาใช้สอน
2.วิธีการสอนแบบสาธิต (
Demonstration Method )
เป็นวิธีสอนที่ครูมีหน้าที่ในการวางแผนการเรียนการสอนเป็นส่วนใหญ่
โดยมีการแสดงหรือการกระทำให้ดูเป็นตัวอย่าง นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการสังเกต
การฟัง การกระทำ หรือการแสดง
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้เห็นการปฏิบัติจริงด้วยตนเอง
ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.
เพื่อกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนให้มีความสนใจในบทเรียนยิ่งขึ้น
2. เพื่อช่วยในการอธิบายเนื้อหาที่ยาก
ซึ่งต้องใช้เวลามาก ให้เข้าใจง่ายขึ้น และประหยัดเวลา
ขั้นตอนในการสอนของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.กำหนดจุดมุ่งหมายของการสาธิตให้ชัดเจน
2.เตรียมอุปกรณ์ในการสาธิตให้พร้อม
และตรวจสอบความสมบูรณ์ของอุปกรณ์
3.เตรียมกระบวนการสาธิต ทดลองสาธิตก่อนสอน
5. ต้องจัดทำคู่มือคำแนะนำหรือข้อสังเกตในการสาธิต
6. เมื่อสาธิตเสร็จสิ้นแล้ว
นักเรียนควรได้ทำการสาธิตซ้ำอีก เพื่อเน้นให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น
7. จัดเตรียมกิจกรรมหลังจากการสาธิตเพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าหรือประโยชน์ของการสาธิตนั้น
ๆ
8. ประเมินผลการสาธิต
ข้อดีของวิธีการสอนแบบสาธิต
1.ทำให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง
2.ทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายและจดจำเรื่องที่สาธิตได้นาน
3.ทำให้ผู้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
3.วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion
Method)
คือ
เป็นการสอนโดยที่นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันการอภิปรายกระทำระหว่างครูกับนักเรียน
หรือระหว่างนักเรียนด้วยกัน โดยมีครูเป็นผู้ประสานงาน
ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบอภิปราย
1.
เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันแบบประชาธิปไตย
2.
เพื่อฝึกทักษะในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ขั้นตอนการสอน
1.ขั้นเตรียมการอภิปราย
2.ขั้นดำเนินการอภิปราย
3.ขั้นสรุป
ประกอบด้วย
ข้อดีของวิธีสอนแบบอภิปราย
1. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2. พัฒนาสติปัญญาของนักเรียนด้านการคิดหาเหตุผล
3. ส่งเสริมการค้นคว้าหาความรู้ของนักเรียนเพื่อนำมาใช้ในการอภิปราย
4.วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม (Committee
Work Method)
คือ
เป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วมมือกันศึกษาค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถ
ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบร่วมกันในการทำงานนั่นคือส่งเสริมการทำ
งานเป็นทีม
2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมในการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีระเบียบวินัย
รู้จักทำหน้าที่
ขั้นตอนในการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1.
ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดความมุ่งหมายของการทำงานในแต่ละกลุ่ม
2.
ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้
3.
นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4.
ครูและนักเรียนประเมินผลการทำงาน
ข้อดีของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
1.
นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเต็มที่
2.
นักเรียนได้ทำงานตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจของตนเอง
5.วิธีสอนแบบนิรนัย (Deducation)
เป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อย
ๆ ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนำหลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
วัตถุประสงค์ของการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัย
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนรู้หลักการและสามารถนำหลักการดังกล่าวไปใช้ได้
องค์ประกอบสำคัญ (ที่ขาดไม่ได้)
ของวิธีสอน
1. มีทฤษฎี / หลักการ / กฏ
หรือข้อสรุปต่าง ๆ
2. มีตัวอย่างสถานการณ์ที่หลากหลาย
ที่สามารถนำทฤษฎี / หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปนั้นไปใช้ได้
3. มีการฝึกนำทฤษฎี /
หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปไปใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
4. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นจากการนำหลักการไปใช้
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
1. ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ /
ทฤษฎี / หลักการ / กฎ / ข้อสรุปที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยวิธีการต่าง
ๆ ตามความเหมาะสม
2. ผู้สอนให้ตัวอย่างสถานการณ์ใหม่ที่หลากหลายที่สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัตินำความรู้
ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
4. ผู้สอนให้ผู้เรียนวิเคราะห์และอภิปรายการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
5. ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เทคนิคและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ในการใช้วิธีสอนโดยการนิรนัยให้มีประสิทธิภาพ
1. ผู้สอนจำเป็นต้องทำความเข้าใจทฤษฎี
/ หลักการ / กฏ / ข้อความรู้ / ข้อสรุป ที่ต้องการสอนให้แก่ผู้เรียน
และหาวิธีที่เหมาะสมในการถ่ายทอด
2. การนำเสนอข้อความรู้ /
ทฤษฎี / หลักการ / กฏ / ข้อสรุปแก่ผู้เรียน
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้อย่างรวดเร็วและไม่ยุ่งยาก
2)
เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนำทฤษฎี /
หลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ
ข้อจำกัด
1)
เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจำเป็นต้องเตรียมตัวอย่าง / สถานการณ์ /
ปัญหาที่หลากหลายมาให้ผู้เรียนได้ฝึกทำ
2)เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและความสามารถของผู้สอนในการนำเสนอทฤษฎี
หลักการ
6.วิธีการสอนแบบอุปนัย (Induction)
เป็นวิธีสอนที่ให้ผู้เรียนสรุปหลักการหรือแนวคิดจากตัวอย่างต่าง ๆ
ด้วยตนเอง....ช่วยให้ผู้เรียนได้คิดได้ทำความเข้าใจด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์การสอนแบบอุปนัย
วัตถุประสงค์การสอนแบบอุปนัย
ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์สามารถจับหลักการ
หรือประเด็นสำคัญได้ด้วยตนเอง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1.
มีตัวอย่าง / ข้อมูล / สถานการณ์
/ เหตุการณ์ / ปรากฏการณ์ / ความคิดที่เป็นลักษณะย่อย ๆ
ของสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
2.
มีการวิเคราะห์ตัวอย่างต่าง ๆ เพื่อหาหลักการที่ร่วมกัน
3.
มีการสรุปหลักการและข้อสรุปที่มีลักษณะเป็นหลักการ / แนวคิด
ขั้นตอนสำคัญของการสอน
1.
ผู้สอน และ / หรือผู้เรียน ยกตัวอย่าง / ข้อมูล / สถานการณ์ /
เหตุการณ์ / ปรากฏการณ์ / ความคิด ที่มีลักษณะสำคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้
2.
ผู้เรียนศึกษาและวิเคราะห์หาหลักการที่แฝงอยู่ในตัวอย่างนั้น
3.
ผู้เรียนสรุปหลักการ / แนวคิด ที่ได้จากตัวอย่างนั้น
เทคนิคและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
ในการใช้วิธีสอนโดยการนิรนัยให้มีประสิทธิภาพ
1.การเตรียมตัวอย่าง
2.การให้ผู้เรียนศึกษาวิเคราะห์หาหลักการ
/ แนวคิด จากตัวอย่าง
3.การให้ผู้เรียนสรุปและนำข้อสรุปไปใช้
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนสามารถค้นพบการเรียนรู้ได้ด้วนตนเอง
จึงทำให้เกิดความเข้าใจและจดจำได้ดี
2)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อันเป็นเครื่องมือสำคัญของการเรียนรู้
ข้อเสีย
1.เป็นวิธีสอนที่ใช้เวลาค่อนข้างมาก
2.เป็นวิธีสอนที่อาศัยตัวอย่างที่ดีหากผู้สอนขาดความเข้าใจในการจัดเตรียมตัวอย่างที่ครอบคลุมลักษณะสำคัญ
ๆ ของหลักการ / แนวคิดที่สอน การสอนจะไม่ประสบผลสำเร็จ
7.วิธีสอนโดยใช้การทดลอง (Experiment)
คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
โดยการให้ผู้เรียนเป็นผู้กำหนดปัญหาและสมมติฐานในการทดลองและลงมือทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำหนดโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนรายบุคคลหรือรายกลุ่มเกิดการเรียนรู้โดยการเห็นผลประจักษ์ชัดจากการคิดและการกระทำของตนเอง
องค์ประกอบของวิธีสอน
1.มีปัญหาและสมมติฐานในการทดลอง
2.มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับทดลอง
3.มีการทดลอง
ข้อดี
1.
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของการปฏิบัติการหรือทดลอง
2.
เป็นการเรียนรู้จากการกระทำ หรือเป็นการเรียนรู้จากสภาพจริง
3.
เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล
8.วิธีสอนโดยใช้บทบาทสมมติ (Role Playing )
คือ
วิธีสอนที่ผู้สอนสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมุติขึ้นจากความเป็นจริง
มาให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามที่ผู้เรียนคิดว่าจะเป็น
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
เกิดความเข้าใจในความรู้สึกและพฤติกรรมทั้งของตนเองและผู้อื่น
หรือเกิดความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับบทบาทสมมติที่ตนแสดง
ความมุ่งหมายของวิธีสอนโดยใช้บทบาทสมมติ
1.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในพฤติกรรมและความรู้สึกของผู้อื่น
2.เพื่อให้ผู้เรียนได้ปรับหรือเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม
3.เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ความรู้ความคิดในการแก้ปัญหา
และการตัดสินใจ
ลักษณะของบทบาทสมมุติ
1.
การแสดงบทบาทสมมุติแบบละคร
2. การแสดงบทบาทสมมุติแบบแก้ปัญหา
ขั้นตอนวิธีการสอนโดยใช้บทบาทสมมุติ
1. ขั้นเตรียมการสอน
2. ขั้นดำเนินการสอน
3. ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผลการแสดง
4. ขั้นแสดงเพิ่มเติม
5. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป
ข้อดี
1. ช่วยให้เกิดความเข้าใจว่าคนอื่นอาจคิด รู้สึก และปฏิบัติอย่างไร เห็นอกเห็นใจคนอื่น
2. ใช้ช่วยในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
3. ผู้เรียนได้รับการเตรียมสำหรับสถานการณ์จริงที่จะเผชิญ
9.วิธีสอนแบบศูนย์การเรียน (Learning
Center)
คือ
การสอนที่เน้นความสำคัญของนักเรียนหรือยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลางและใช้เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่ใช้สื่อประสมและกระบวนการกลุ่มเป็นสิ่งสำคัญ
เพื่อส่งเสริมให้การเรียนการสอนมีชีวิตชีวา
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ด้วยตนเอง
ความมุ่งหมายวิธีสอนแบบศูนย์การเรียน
1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
2.เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
รู้จักเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้อื่น
องค์ประกอบของศูนย์การเรียน
1.บทบาทของผู้สอน
2.บทบาทของผู้เรียน
3.จุดการสอน
4. การจัดห้องเรียน
ขั้นตอนการสร้างชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
1. เลือกเรื่องที่จะสอน
แล้วแบ่งเป็นหัวเรื่องย่อยประมาณ 4-6 หัวเรื่อง
2. กำหนดมโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดของแต่ละหัวข้อเรื่อง
3. กำหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
4. กำหนดกิจกรรมการเรียนโดยให้สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องของชุดการสอน
5. กำหนดสื่อการสอน
สื่อการสอนที่จะใช้ควรเป็นสื่อที่มีราคาถูกและสามารถผลิตเองได้
ขั้นตอนการสอนวิธีสอนแบบศูนย์การเรียน
1. ขั้นทดสอบก่อนเรียน
2. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
3. ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน
4. ขั้นสรุปบทเรียน
5.
ขั้นประเมินผลการเรียน
ข้อดี
1.
ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมและการเป็นประชาธิปไตย
2.
สร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพโดยการให้โอกาสนักเรียนได้เรียนตามความสนใจ
3.
ได้ทราบถึงพัฒนาการของผู้เรียนจากการบันทึกพัฒนาการในการเรียน
10.วิธีสอนการสอนแบบทัศนศึกษา (Field
Trip)
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่องที่เรียน
ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริงได้ใช้แหล่งชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
วัตถุประสงค์การสอนแบบทัศนศึกษา
เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานที่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. มีการวางแผนร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในเรื่องวัตถุประสงค์ สถานที่ การเดินทาง เรื่องที่จะศึกษา วิธีศึกษา ค่าใช้จ่าย กำหนดการเดินทางและหน้าที่ความรับผิดชอบ
2.
มีการเดินทางออกไปยังสถานที่เป้าหมายซึ่งอยู่นอกโรงเรียน หรือนอกสถานที่ที่เรียนกันอยู่เป็นปกติ
3.
มีกระบวนการในการศึกษาสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ในสถานที่นั้น
4.
มีการสรุปผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้จากการไปทัศนศึกษา
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
ได้เรียนรู้สภาพความเป็นจริง
มีการเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียนและความเป็นจริง
2)
เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นและชุมชนให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
และช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ข้อเสีย
1) เป็นวิธีสอนที่ยุ่งยากสำหรับผู้สอน
เนื่องจากต้องมีการเตรียมการติดต่อประสานงาน จัดการ และรับผิดชอบงานหลายด้าน
2) เป็นวิธีสอนที่มีค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลามาก
และมีความเสี่ยง อาจเกิดอันตรายระหว่างการเดินทางได้
11.วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
เป็นการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่างนี้
มิได้มุ่งที่คำตอบใดคำตอบหนึ่ง
...แต่ต้องการให้ผู้เรียนเห็นคำตอบและเหตุผลที่หลากหลาย
อันจะช่วยให้การตัดสินใจมีความรอบคอบขึ้น
วัตถุประสงค์
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริง
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนการเผชิญและแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริง
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีกรณีเรื่องที่คล้ายกับเหตุการณ์จริง
1. มีกรณีเรื่องที่คล้ายกับเหตุการณ์จริง
2.มีประเด็นคำถามให้คิดพิจารณาหาคำตอบ
3. มีคำตอบที่หลากหลาย
คำตอบไม่มีถูกผิดอย่างชัดเจนหรือแน่นอน
4. มีการอภิปรายเกี่ยวกับสภาพการณ์ ปัญหา
มุมมอง และวิธีแก้ปัญหาของผู้เรียน
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา
ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมมองที่กว้างขึ้น
2)เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริงและได้ฝึกแก้ปัญหาโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลที่จะเกิดขึ้นช่วยให้เกิดความพร้อมแก้ปัญหาเมื่อเผชิญปัญหาในสถานการณ์จริง
ข้อเสีย
1)
หากกลุ่มผู้เรียนมีความรูและประสบการณ์ไม่แตกต่างกัน การเรียนรู้อาจไม่กว้างเท่าที่ควร
เพราะผู้เรียนมักมีมุมมองคล้ายกัน
2)
แม้ปัญหาและสถานการณ์จะใกล้เคียงกับความเป็นจริง แต่ก็ไม่ได้เกิดขึ้นจริง ๆ
กับผู้เรียน
ความคิดในการแก้ปัญหาจึงมักเป็นไปตามเหตุผลที่ถูกที่ควรซึ่งอาจไม่ตรงกับการปฏิบัติจริงได้
12.วิธีสอนบทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction)
เป็นบทเรียนที่ผู้เรียนสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสามารถ....และสามารถตรวจสอบผลการเรียนรู้ได้ทันทีด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนรายบุคคลได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ
ความต้องการและความสนใจของตน
องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน
1. มีบทเรียนแบบโปรแกรมในเรื่องที่ตรงกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
2. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากบทเรียนแบบโปรแกรม
ข้อดี
ข้อดี
1)
เป็นวิธีสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง
2)
เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลสามารถเรียนรู้ได้ตามความสามารถของตน
เป็นการตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ข้อเสีย
1) เป็นวิธีสอนที่พึ่งบทเรียนแบบโปรแกรม
หากไม่มีบทเรียนหรือบทเรียนไม่มีคุณภาพดีพอ ก็ย่อมส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
2) การสร้างบทเรียนให้มีคุณภาพที่ดี
เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและมีความยุ่งยากในการจัดทำ ผู้สร้างจำเป็นต้องมีความรู้
ความเข้าใจในการสร้างบทเรียน
วิธีการสอนแบบบรรยาย
วิธีการสอนแบบบรรยาย
Jackpot City, Tunica, MS - MapYRO
ตอบลบCompare and book 경주 출장안마 a stay at Jackpot City, Tunica, Mississippi 양산 출장안마 hotel with Mapyro. See 9 traveler reviews, 포항 출장마사지 14 tips and reviews: "The rooms is smokey, Rating: 대구광역 출장안마 8.5/10 · 913 reviews · Price range: 김천 출장안마 Best price guarantee!